ISO
สอบเทียบ บริการสอบเทียบครื่องมือวัด(Calibration, Calibrater) มาตรฐาน ISO/IEC 17025
- สอบเทียบความดันบรรยากาศ (Barometer)
- สอบเทียบด้านปริมาตร (Flow Meter : Liquid, Air (Analytical)
- สอบเทียบด้านเคมี (Analytical) TDS, DO Meter, pH Meter, Oxygen Analyzer
- สอบเทียบความเร็วรอบ (Tachometer)
- สอบเทียบความเร็วลม (Anemometer)
- สอบเทียบแรงดัน (Differencial Pressure, Pressure Transmitter)
- สอบเทียบด้านมิติ ความกว้าง ความยาวและความหนา (Dimension)
- สอบเทียบ ความเข้มข้น (ความเค็ม, ความหวาน)Hand Refractometer / Brix, Salinometer / Salt Meter
- สอบเทียบความเข้มข้น Hydrometer
- สอบเทียบเครื่องแก้วGlassware / Plasticware
- สอบเทียบเครื่องชั่ง ( Balance )
- สอบเทียบด้านอุณหภูมิ (Temperature Transmitter, Infrared Thermometer
ติดต่อ โทร 028654647-8 โทรสาร 02865469 E-Mail : info@mit.in.th
http:/www.mit.in.th
ISO/IEC 17025 คือ มาตรฐานสากลซึ่งเป็นการประเมินความสามารถทางวิชาการของห้องปฏิบัติการ ISO/IEC 17025 ครอบคลุมทุกด้านของการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการ ตั้งแต่การเตรียมตัวอย่างถึงความชำนาญในการวิเคราะห์ทดสอบ ถึงการเก็บบันทึกและการรายงานผล มาตรฐานนี้เน้นองค์ประกอบหลายด้านแต่ไม่ได้จำกัดเฉพะแค่ด้านเหล่านี้ ซึ่งได้แก่ระบบคุณภาพของห้องปฏิบัติการ การควบคุมเอกสาร การปฏิบัติการแก้ไขและป้องกัน สถานที่และภาวะแวดล้อม เครื่องมือ การประมาณค่าความไม่แน่นอน หลักฐานความสอบกลับได้ การสุ่มตัวอย่างและอื่นๆ
มาตรฐาน ISO ที่สำคัญ
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(สมอ.) ได้รับเอาระบบคุณภาพอนุกรมมาตรฐานสากล ISO มาใช้ในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพในการบริหารองค์กรโดยมาตรฐาน ISO ที่สำคัญได้แก่
ISO9000 ที่เน้นความสำคัญในเรื่องของระบบคุณภาพองค์กร
ISO14000 ที่เน้นความสำคัญในเรื่องของการจัดการดูและสิ่งแวดล้อมขององค์กร (Environment) และนอกจากนี้แล้วยังมี
มาตรฐาน มอก.18000 ซึ่งรับเอาแนวทางมาจาก BS8800 ที่เน้นการจัดการอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยในองค์กรโดยลักษณะของมาตรฐาน ISO ประเภทต่างๆ สรุปได้ดังนี้
อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 มีเนื้อหาแบ่งออกได้ 5 เรื่อง ดังนี้
ISO 9000 ใช้เป็นแนวทางในการเลือกและกรอบในการเลือกใช้มาตรฐาน ชุดนี้ให้เหมาะสม
ISO 9001 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพซึ่งกำกับดูแลตั้งแต่การออกแบบ การพัฒนาการผลิต การติดตั้งและการบริการ
ISO 9002 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพซึ่งกำกับดูแลเฉพาะการผลิต การติดตั้งและการบริการ
ISO 9003 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลเฉพาะการตรวจสอบขั้นสุดท้าย
ISO 9004 เป็นแนวทางเพื่อใช้ในการบริหารระบบคุณภาพให้เกิด ประสิทธิภาพ สูงสุด
จะเห็นว่า ISO 9000 และ ISO 9004 เป็นแนวทางในการเลือกใช้มาตรฐาน ISO ชุดนี้ ดังนั้นมาตรฐานที่องค์กรสามารถขอใบรับรองได้คือ ISO 9001 ISO 9002 และ ISO 9003
อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000 : มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
ISO 14000 เป็นมาตรฐานที่นำไปใช้กับการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ทั้งในส่วนของกิจการภายใน การผลิตสินค้า และการจัดการเรื่องผลกระทบ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ครอบคลุมถึงระบบโครงสร้างองค์กร การกำหนดความรับผิดชอบ การปฏิบัติงาน ระเบียบปฏิบัติ กระบวนการดูแลทรัพยากร มาตรฐาน ISO 14000 นี้ สามารถใช้ได้กับทั้งระบบอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ เช่นเดียวกับ ISO 9000 ทั้งนี้เพราะในแต่ละองค์กรมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น และ สมอ.ได้นำมาประกาศใช้ในประเทศไทย เมื่อปี 2540 ในชื่อ "อนุกรมมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม มอก.-ISO 14000"
อนุกรมมาตรฐาน มอก.-ISO 14000 มีเนื้อหาแบ่งออกได้ 3 กลุ่มดังนี้
มาตรฐานระบบการบริหาร(Environmental Management Systems: EMS) ได้แก่
ISO 14001 เป็นข้อกำหนดระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ISO 14004 เป็นข้อแนะนำด้านหลักการและเทคนิคในการจัดระบบ
ISO 14010 เป็นหลักการทั่วไปของการตรวจประเมิน
ISO 14011 เป็นวิธีการตรวจประเมินระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
ISO 14020 เป็นหลักการพื้นฐานในการติดฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม
ISO 14021 เป็นการกำหนดหลักเกณฑ์และสัญลักษณ์ให้ผู้ผลิตสินค้าและบริการสามารถประกาศรับรองตนเองได้ว่าได้ผลิตสินค้าและบริการที่ช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ISO 14024 เป็นหลักการ ระเบียบปฏิบัติ ข้อกำหนดและวิธีการรับรองผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมของหน่วยรับรอง
ISO 14040 เป็นหลักการพื้นฐานและกรอบการดำเนินงาน
ISO 14041 เป็นการรวบรวมข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ISO 14042 เป็นการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ISO 14043 เป้นการแปรผลที่ได้จากข้อมูล
มาตรฐาน มอก.18000 : มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สมอ.ได้นำมาใช้ภายในประเทศก่อนที่ ISO จะประกาศใช้อย่างเป็นทางการ โดยนำเอาเกณฑ์มาตรฐาน BS8800 ของอังกฤษมาใช้เป็นแนวทางในการจัดทำ ซึ่งครอบคลุมถึงแนวทางในการป้องกันมิให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพและอุบัติเหตุต่างๆ ต่อผู้ปฏิบัติงานและต่อสังคมโดยรวมทั้งภายในและภายนอกองค์กรตลอดจนรวมทั้งชุมชนใกล้เคียง
ISO 14012 เป็นข้อกำหนดคุณสมบัติของผู้ตรวจประเมิน
แหล่งอ้างอิง
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=4e2ff974449fddd0 ชื่อ Miracle
PangZiiZZa
วันศุกร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2557
ITIL
องค์ประกอบหลักของ ITIL (Information Technology Infrastructure Library) ในเวอร์ชัน 3 ที่ออกเมื่อประมาณกลางปี 2007 ที่มีผ่านมา ประกอบไปด้วยหัวข้อหลักๆ 5 ข้อที่ผมคิดว่าทุกๆ องค์กรที่เกี่ยวข้องกับงานด้านบริการทุกองค์กรควรศึกษาและทำความเข้าใจ
ตามปกติองค์กรที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับการบริการหรือเซอร์วิสทุกประเภทมักจะมีแนวทางในการให้บริการ
ต่อลูกค้าอยู่แล้ว บ้างก็ยึดถือตามเวลาที่ต้องรวดเร็ว บ้างก็ยึดถือตามระบบงานที่ต้องสามารถตรวจสอบและติดตามได้ บ้างก็ยึดถือตามราคาต่อการบริการ ซึ่งอย่างไรก็ตามงานด้านบริการก็เป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ต้องมีรูปแบบที่ต้องพัฒนาได้แบบยั่งยืน
ทั้งต่อลูกค้าและต่อองค์กร
ต่อลูกค้าอยู่แล้ว บ้างก็ยึดถือตามเวลาที่ต้องรวดเร็ว บ้างก็ยึดถือตามระบบงานที่ต้องสามารถตรวจสอบและติดตามได้ บ้างก็ยึดถือตามราคาต่อการบริการ ซึ่งอย่างไรก็ตามงานด้านบริการก็เป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ต้องมีรูปแบบที่ต้องพัฒนาได้แบบยั่งยืน
ทั้งต่อลูกค้าและต่อองค์กร
ITIL เป็นอีกหนึ่งแนวทางปฏิบัติที่มีขั้นตอนและขบวนการจัดการด้านการบริการที่ดีมาก โดยมีองค์ประกอบทั้ง 5 ที่ครอบคลุมขบวนการจัดการต่างๆ ที่สำคัญดังนี้
1. กลยุทธ์ด้านการบริการ (Service Strategy) จะครอบคุลมถึงกลยุทธ์และการวางแผนที่สร้างคุณค่า หน้าที่และความรับผิดชอบ การวางแผนและพัฒนากลยุทธ์ แผนงานธุรกิจที่เชื่อมโยงกับระบบไอที ปัจจัยที่เป็นโอกาสในการประสบความสำเร็จและความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น
2. การออกแบบงานบริการ (Service Design) จะครอบคลุมถึงวงจรของการบริการ หน้าที่และความรับผิดชอบ การออกแบบวัตถุประสงค์ของการบริการและส่วนประกอบต่างๆ การคัดเลือกและการจัดสรรรูปแบบงานบริการ ค่าใช้จ่ายของงานบริการ การวิเคราะห์ผลประโยชน์และความเสี่ยง การพัฒนางานบริการ การวัดผลและควบคุม รวมถึงปัจจัยการประสบความสำเร็จและความเสี่ยง
3. การส่งมอบงานบริการ (Service Transition) จะครอบคลุมถึงการจัดการความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นรูปแบบองค์กรหรือวัฒนธรรมองค์กร การบริหารจัดการความรู้ การวิเคราะห์ความเสี่ยง ข้อควรปฏิบัติในการบริการ สถานการณ์การงานบริการ แนวทาง การฝึกฝน เครื่องมือในการบริการ การวัดผลและควบคุม
4. การปฏิบัติงานบริการ (Service Operation) จะครอบคลุมถึงแนวทางและสถานะของวงจรการบริการ พื้นฐานและขบวนการงานบริการ การประยุกต์ใช้ การจัดการโครงสร้าง การจัดการขบวนการ ปัจจัยความสำเร็จและความเสี่ยงในงานบริการ
5. การพัฒนางานด้านบริการ (Continual Service Improvement) จะครอบคลุมถึง การขับเคลื่อนหรือการผลักดันงานบริการ หลักการงานพัฒนาด้านบริการ หน้าที่และความรับผิดชอบ ผลประโยชน์ที่จะได้รับ การทำให้ประสบผลสำเร็จ แนวทาง การฝึกฝน เครื่องมือในการพัฒนา การฝึกฝน
สำหรับองค์ประกอบหลักทั้ง 5 ของการบริหารงานบริการที่ ITIL ได้ชี้เป็นแนวทางไว้เพื่อเป็นคู่มือหรือเป็นมาตรฐานให้กับธุรกิจที่ใช้ระบบไอทีนั้น มีแนวทางที่ผมคิดว่ามันครอบคลุมทุกด้านและสามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้จริงในทุกๆธุรกิจ ที่การบริการก็ต้องทำให้ลูกค้าที่มาใช้บริการนั้นพึงพอใจมากที่สุดและกลับมาใช้อีก โดยที่แนวทางของ ITIL ก็น่าจะเป็นต้นแบบที่สามารถทำให้ธุรกิจด้านบริการนั้นประสบความสำเร็จได้แบบยั่งยืน
แหล่งอ้างอิง
COBIT
COBIT เป็นกรอบแนวคิดที่ช่วยเชื่อมโยงการดำเนินธุรกิจกับการใช้งานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ให้มีความสอดคล้องกัน โดยเริ่มต้นที่ตั้งวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ และมีแนวคิดในการนำ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้งานซึ่งจะต้องมีการกำกับดูแล
ให้ชัดเจนและมีวัตถุประสงค์ในการกำกับดูแลควบคุมไว้ด้วย การจะควบคุมได้นั้นก็จะต้องมีข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นจะต้องใช้ซึ่งจะทำให้การควบคุมการใช้งาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ในองค์กรเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิผล และสุดท้ายส่งผลให้ตรงกับความต้องการทางธุรกิจและบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่ได้วางเอาไว้ได้
การทำ IT Governance มุ่งเน้นใน 5 ด้าน คือ
-การจัดวางกลยุทธ์ (Strategic Alignment)
-การนำเสนอคุณค่า (Value Delivery)
-การจัดการทรัพยากร (Resource Management)
-การจัดการความเสี่ยง (Risk Management)
-การวัดผลการดำเนินงาน (Performance Measurement)
มีขอบเขตของกระบวนการ
4 ด้านหลักด้วยกัน คือ
-การวางแผนและการจัดองค์กร (Planning and Organization : PO)
-การจัดหาและนำไปใช้ (Acquisition and Implementation : AI)
-การนำส่งและสนับสนุน (Delivery and Support : DS)
-การตรวจสอบและประเมินผล (Monitoring and Evaluation : ME)
-โดยที่แต่ละด้านนั้นจะมีกระบวนการย่อยอยู่ภายใน
ซึ่งจะมีกระบวนการรวมทั้งหมด 34 กระบวนการ
แนวทางการใช้งานกรอบแนวคิดในการกำกับดูแลเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาพ แสดงระดับและขอบเขตในการนำตัวแบบต่างๆ มาใช้งาน
แนวทางประยุกต์ใช้
COBIT
ให้เข้ากับธุรกิจ
-ในกรอบแนวคิดของ COBIT จะมีรูปแบบแนวทางการบริหารจัดการ
ซึ่งจะมีองค์ประกอบย่อยๆ ที่อยู่ภายใน
ทำให้ธุรกิจสามารถที่จะเชื่อมโยงและได้รับข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นสำหรับการบรรลุเป้าหมายขององค์กร
-COBIT สนับสนุนการทำงานทางด้าน IT Governance การบริหารงาน
การควบคุม
-COBIT จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้บริหารเชื่อมโยงช่องว่างระหว่าง
ความต้องการในการควบคุม เรื่องทางด้านเทคนิค กับความเสี่ยงทางธุรกิจได้
พร้อมทั้งสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ
-เริ่มต้น
ให้ความต้องการทางธุรกิจแก่กระบวนการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ
-ให้กระบวนการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีการทำงานให้ได้ตามเป้าหมายของระดับกิจกรรม
-วัดผลได้โดย KPIs (Key Performance Indicators) เป็นตัววัดผลการดำเนินงาน
และใช้ KGI (Key Goal Indicators) ซึ่งเป็นการวัดผลได้ในกระบวนการ
-วัดระดับความสามารถขององค์กร ว่าอยู่ในขั้นใด (ระดับ 0 – 5 )
ซึ่งโดยสามารถใช้ COBIT เป็นแนวทาง และทราบได้ว่าอยู่ระดับใดในแต่ละกระบวนการ
ภาพ แสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ COBIT ที่มา COBIT 4.0
-ความเชื่อมโยงที่เกิดขึ้น คือ
สามารถจัดกลุ่มขององค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับ ปัจจัยทางด้าน สารสนเทศ โดยมีองค์ประกอบหลักคือ
เป้าหมายทางธุรกิจ
-มีตัวผลักดันในเรื่องของการกำกับดูแลเข้ามาเกี่ยวข้อง
โดยจะดูจากผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทางธุรกิจ
-ตัวผลักดันนั้นจะมาจากกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
-กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศนี้จะมีการใช้ทรัพยากรทั้ง 4
ด้านที่เกี่ยวข้อง คือ โปรแกรมประยุกต์ ข้อมูลสารสนเทศ โครงสร้างพื้นฐาน และคน
เป็นตัวผลักดันให้ทำงานได้
-กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศนี้จะมีการใช้ทรัพยากรทั้ง 4
ด้านที่เกี่ยวข้อง คือ โปรแกรมประยุกต์ ข้อมูลสารสนเทศ โครงสร้างพื้นฐาน และคน
เป็นตัวผลักดันให้ทำงานได้
ภาพ แสดงการการจัดการของ COBIT, การควบคุม,
การจัดวางและการตรวจสอบดูแล
ที่มา COBIT 4.0
-จากลูกบาศก์ COBIT จะเห็นได้ว่าความต้องการของธุรกิจจะมีอยู่
7 ด้าน ก็คือ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ การเป็นความลับ ความสมบูรณ์ การมีใช้งาน
การปฏิบัติตามกฎ และความเชื่อถือได้
-มีการใช้ทรัพยากรทางด้าน IT เข้าไปเพื่อทำให้การทำงานในกระบวนการต่างๆ ของ IT
สามารถที่จะให้ข้อมูลสารสนเทศตรงนี้ออกมาได้
และจะได้วัดใน 7 ด้านทางธุรกิจด้วย
-กระบวนการทางด้าน IT จะมีขอบเขตที่เกี่ยวข้องอยู่ ดูว่าสิ่งที่ทำ
อยู่ในขอบเขตเรื่องใด และแบ่งออกเป็นกระบวนการต่างๆ จากนั้น
ก็จะมีการแบ่งย่อยในระดับกิจกรรมด้วยว่าแต่ละกระบวนการจำเป็นต้องทำกิจกรรมใดบ้าง
การนำไปใช้
-มีแนวคิดการทำ IT Governance เปิดเผยข้อมูลตามที่กฎหมายกำหนด
-นำแนวทางในการบริหารจัดการต่างๆ ของ COSO มาใช้เพื่อที่จะวางแนวทางการปฏิบัติงานทั้ง
5 ด้าน ผู้บริหารจะได้ดูแลงานได้ถูกด้าน
-ใช้แนวทางของ COBIT มาช่วยสร้างความเชื่อมโยงทางด้านเป้าหมายทางธุรกิจ
กับเป้าหมายทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ
-การนำมาใช้นั้นไม่จำเป็นจะต้องนำมาทั้งหมด
แต่ให้เลือกกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเป้าหมายทางธุรกิจเป็นหลักก่อน
ภาพ แสดงขั้นตอนการใช้ COBIT
ในแต่ละกระบวนการ
-เริ่มต้นที่การควบคุมในระดับบน ซึ่งหมายถึงภาพรวมของกระบวนการนั้นๆ
และทราบว่ากระบวนการที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศนี้ จะต้องทำอะไร
เพื่อที่จะตอบสนองความต้องการด้านธุรกิจด้านไหน รวมถึงทราบตัววัดโดยรวมด้วยว่า
จะวัดผลการดำเนินการของกระบวนการนี้ด้วย ว่าจะใช้ตัวชี้วัดหลักใด
มาวัดผลสำเร็จของกระบวนการ
-ในแต่ละกระบวนการเองนั้น ก็จะมีเรื่องของ IT Governance เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
คือ ทาง COBIT เองก็จะบอกว่า เป็นการกำกับดูแลเทคโนโลยีสารสนเทศทางด้านใด
ซึ่งจะมีอยู่ด้วยกัน 5 ด้าน และบอกต่อด้วยว่า ด้านใดเป็นด้านหลัก
และด้านใดเป็นด้านสนับสนุน
วันพุธที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2556
เครือข่าย Ethernet (IEEE 802.3)
หลักการพื้นฐานและความเป็นมา
มาตรฐาน IEEE 802.3 ออกแบบมาสำหรับระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณแบบ CSMA/CD
ต้นกำเนิดของมาตรฐานนี้มาจากระบบอะโลฮ่า (Aloha) ซึ่งได้รับการเพิ่มขีดความสามารถโดยบริษัท Xerox เริ่มมาจากบริษัท Xerox ได้สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ 100 เครื่องในบริษัท
โดยมีความยาวของเครือข่ายได้ถึง 1 กิโลเมตร และมีอัตราในการส่งข้อมูลถึง 2.94 Mbps ระบบนี้เรียกว่า อีเทอร์เน็ต (Ethernet)
หลักการพื้นฐานและความเป็นมา
การนำระบบอีเธอร์เน็ตมาใช้งานนั้นประสบผลสำเร็จเป็นอย่างมาก
บริษัท Xerox , DEC (Digital Equipment Corporation, Ltd.) และ Intel Corp
ได้ร่วมกำหนดมาตรฐานอีเธอร์เน็ตที่ความเร็ว 10 Mbps ซึ่งเป็นพื้นฐานของ 802.3
ข้อแตกต่างที่สำคัญคือ มาตรฐาน IEEE 802.3 ได้กำหนดไว้ สำหรับการสื่อสารแบบ CSMA/CD บนสายสื่อสารชนิดต่างๆ เช่น กำหนดค่าตัวแปรไว้สำหรับสื่อสารที่ความเร็ว 10 Mbps บนสายโคแอกซ์ (Coaxial ) ขนาด 50 โอห์มเท่านั้น ค่าตัวแปรสำหรับตัวเลือกอื่นๆ ได้รับการกำหนดเพิ่มเติมในภายหลัง
IEEE 802.3 Ethernet
สำหรับมาตรฐาน 802.3 จะอธิบายถึง LAN ทั้งหมดที่ใช้หลักการของ
CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection)
ที่มีอัตราการส่งข้อมูลตั้งแต่ 1 Mbps ถึง 100 Mbps และใช้สายส่งชนิดต่างๆ
นอกจากนี้มาตรฐาน IEEE 802.3 และอีเทอร์เน็ตยังมีบางส่วนของส่วนหัวของข้อมูล (Header) แตกต่างกันบ้าง (ฟิลด์ความยาวของ IEEE 802.3 ถูกใช้บ่งบอกชนิดของ Packet ในมาตรฐานอีเทอร์เน็ต)
ดังนั้นจะเห็นได้ว่ามาตรฐาน IEEE 802.3 จะอธิบายถึง LAN ที่ใช้วิธีส่งข้อมูลแบบ CSMA/CD
ส่วนอีเทอร์เน็ตนั้นจะหมายถึงผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งของแลนแบบ IEEE 802.3
IEEE 802.3 Ethernet
LAN แบบนี้ส่งข้อมูลโดยใช้หลักการคล้ายๆ กับการสนทนาระหว่างบุคคลหลายคน
หากใครต้องการพูดก็สามารถพูดออกมาได้ในจังหวะที่ไม่มีคนอื่นพูด(เงียบ)
แต่ก็อาจเป็นไปได้ที่บุคคล 2 คนจะพูดออกมาพร้อมๆ กัน ทำให้เกิดการชนกันของเสียงพูด
เมื่อเป็นเช่นนั้นทั้งสองคนจะต้องหยุดพูดทันที แล้วรอจังหวะที่จะพูดใหม่อีกครั้ง
ซึ่งหากใครพูดก่อนก็จะสามารถพูดได้ และบุคคลอื่นๆ จะต้องฟังอย่างเดียว
IEEE 802.3 Ethernet
วิธีการรับส่งข้อมูลของแลน IEEE 802.3 ซึ่งเป็นแบบ CSMA/CD
ก็ทำงานในลักษณะเดียวกัน คือ โหนดใดที่ต้องการส่งข้อมูลลงในสื่อกลางการส่งข้อมูล
จะตรวจสอบดูสัญญาณในสื่อกลาง ถ้าหากสื่อกลางในการส่งข้อมูลว่างก็จะทำการส่งข้อมูลได้ทันที
แต่หากโหนดตั้งแต่ 2 โหนดขึ้นไป ส่งข้อมูลลงไปในสื่อกลางพร้อมๆ กัน
สัญญาณข้อมูลจะเกิดการชนกันขึ้น ทุกๆ สถานีจะต้องหยุดการส่งข้อมูลแล้วรอเวลา
ซึ่งช่วงเวลาของการรอแต่ละครั้งจะทำการสุ่มขึ้นมา (Random Time)
หลังจากหมดเวลารอแล้วก็จะทำการตรวจสอบสัญญาณในสื่อกลางเพื่อส่งข้อมูลลงไปใหม่อีก
IEEE 802.3 Ethernet
เมื่อเกิดการชนกันของสัญญาณข้อมูลแล้ว เวลาจะถูกแบ่งออกเป็นช่องๆ (slots) แต่ละช่องมีช่วงเวลา 51.2 ไมโครวินาที
(นั่นคือเวลาสถานีที่ส่งข้อมูลรู้ว่าเกิดการชนกันของข้อมูลหรือไม่ สำหรับความยาวของแลน 2,500 เมตร อัตราการส่งข้อมูล 10 Mbps)
หลังจากการชนกันครั้งแรก แต่ละสถานีจะสร้างตัวเลขสุ่ม (Random) ที่มีค่า 0 หรือ 1 (เลขสุ่ม 2^1 ค่า)
สถานีที่ได้ค่า 0 จะส่งข้อมูลออกไปในช่องเวลา 0 และสถานีที่ได้ค่า 1 จะส่งข้อมูลในช่องเวลาที่ 1
หากสองสถานีได้ค่าเลขสุ่มเดียวกันและส่งข้อมูลภายในช่องเวลาเดียวกัน จะเกิดการชนกันอีกครั้ง
IEEE 802.3 Ethernet
หลังจากการชนกันครั้งที่ 2 แต่ละสถานีจะสร้างตัวเลขสุ่มที่มีค่า 0,1,2, หรือ 3
(นั่นคือเลขสุ่ม 2^2 ค่า) แล้วส่งข้อมูลภายในช่องเวลาของตนเอง หากชนกันอีกก็จะสร้างเลขสุ่มจำนวน 2^3 ค่า กล่าวคือหลังจากการชนกัน i ครั้ง แต่ละสถานีก็จะมีการสร้างเลขสุ่มตั้งแต่ค่า 0 ถึง 2^i-1 ค่า
และสถานีก็จะส่งข้อมูลภายในช่องเวลาของตนเอง กระบวนการในการแก้ไขการชนกันของข้อมูลแบบนี้เรียกว่า Binary Exponential Back off ซึ่งจะเห็นได้ว่ากระบวนการนี้ทำให้โอกาสในการที่จะเกิดการชนกันของข้อมูลมีน้อยลง เมื่อจำนวนครั้งของการชนกันของข้อมูลมากขึ้น
หลักการพื้นฐานและความเป็นมา
IEEE แบ่ง IEEE 802.3 เป็น 2 กลุ่มคือ baseband และ broadband
พิจารณาจากลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่ส่งลงไปในสาย
Baseband ใช้สัญญาณแบบ digital สำหรับสื่อสารในสาย มี 5 มาตรฐานคือ
10Base5, 10Base2, 10Base-T, 1Base5 และ 100Base-T
Broadband ใช้สัญญาณแบบ analog สำหรับสื่อสารในสาย มีมาตรฐานเดียวคือ 10Broad36
IEEE 802.3 Ethernet
การทำงานและหน้าที่ของ MAC
ส่วนประกอบของเฟรมข้อมูลของ Ethernet
Preamble มีความยาว 7 ไบต์ แต่ละไบต์จะมีข้อมูลเหมือนกันหมดคือ “10101010”
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับได้มีโอกาสรู้และเทียบสัญญาณนาฬิกาของตนเองกับผู้ส่งให้ตรงกัน
Start of frame มีความยาว 1 ไบต์ (10101011) สำหรับบอกเครื่องรับ ระบุจุดเริ่มต้นของเฟรม
โดยไบต์ถัดจากนี้เป็นต้นไป คือ ข้อมูล
การทำงานและหน้าที่ของ MAC
Source address and Destination address คือ ที่อยู่ของผู้ส่งและที่อยู่ของผู้รับ มีขนาดอย่างละ 6 ไบต์ IEEE มีหน้าที่ในการกำหนดที่อยู่สากล (global address) ซึ่งมีขอบเขตการใช้งานได้ทั่วโลก
Length มีความยาว 2 ไบต์ ใช้บอกความยาวของข้อมูลมูลจริงที่ถูกใส่มาในเฟรมนั้น มีค่าต่ำสุด เป็น 0 ไบต์ และสูงสุดไม่เกิน 1,500 ไบต์ มาตรฐาน 802.3 กำหนดให้ทุกเฟรมจะต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า 64 ไบต์ หากข้อมูลจริงมีความยาวไม่ถึง 64 ไบต์ จะใช้ส่วน pad เพิ่มเติม
Pad มีไว้สำหรับเติมข้อมูลหลอก (dummy) เพื่อให้มีขนาดของเฟรมไม่น้อยกว่า 64 ไบต์
Checksum มีขนาด 4 ไบต์ มีไว้สำหรับการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่รับได้
ถ้าเกิดการผิดพลาดขึ้นในระหว่างการนำส่งข้อมูลในส่วนนี้จะช่วยให้ตรวจพบความผิดพลาดนี้ได้ เช่น CRC (Cyclic redundancy)
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
คำว่า “Ethernet” นั้นอันที่จริงมีความหมายเกี่ยวข้องโดยตรงกับสายสื่อสาร
จากรูป แสดงคุณสมบัติของสายสื่อสาร 4 ชนิด ที่นิยมใช้กันทั่วไป ประเภทของสายสื่อสารที่ใช้กันทั่วไปสำหรับมาตรฐาน 802.3
การแบ่งเซกเมนต์ของ Ethernet
ระยะต่างๆ ของการติดตั้งเครือข่าย Ethernet จะขึ้นอยู่กับมาตรฐาน โดยประกอบด้วย
ระยะห่างระหว่างเครื่อง
ความยาวเซกเมนต์
ความยาวสูงสุด
จำนวนเครื่องสูงสุด
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base5: Thick Ethernet
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base5: Thick Ethernet
แต่ละเซกเมนต์ยาวไม่เกิน 500 เมตร
ความยาวรวมทุกเซกเมนต์ไม่เกิน 2500 เมตร
มีจำนวนเครื่องสูงสด 200 เครื่องในแต่ละเซกเมนต์ และทั้งหมดไม่เกิน 1000 เครื่อง
ใช้สาย RG-8 เป็นสายหลักของเซกเมนต์
การต่อไปยังเครื่องใช้ Transceiver ต่อออกจากสายหลัก หรือเรียกอุปกรณ์เหล่านี้ว่า Medium Attachment Unit (MAU)
ใช้สาย AUI ต่อจาก MAU ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base2: Thin Ethernet
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base2: Thin Ethernet
แต่ละเซกเมนต์ยาวไม่เกิน 185 เมตร
ใช้สาย RG-58 เป็นสายหลักของเซกเมนต์
การต่อไปยังเครื่องใช้ BNC-T connector และต่อตรงเข้ากับแผ่นวงจรเครือข่ายของเครื่องคอมพิวเตอร์
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base-T: Twisted-Pair Ethernet
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base-T: Twisted-Pair Ethernet
สายแต่ละเส้นที่ต่อออกจากอุปกรณ์กระจายสัญญาณยาวไม่เกิน 100 เมตร
ใช้สาย UTP เป็นสายหลักของเซกเมนต์
เข้าหัวสายด้วยหัวต่อ RJ-45
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
1Base5: StarLAN
เป็นผลิตภัณฑ์ของ AT&T
มีความเร็ว 1 Mbps
เพิ่มขนาดของเครือข่ายแบบ Daisy chain
ใช้สาย UTP
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
Fast Ethernet (IEEE 802.3u)
เนื่องจากในปัจจุบันมัลติมีเดียได้มีการใช้งานกันมาก
จึงมีความต้องการเครือข่ายความเร็วสูงในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน
กลุ่มคณะทำงานของ IEEE จึงตัดสินใจที่จะปรับปรุงมาตรฐาน 802.3
ให้สามารถ รับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงขึ้น ซึ่งกลายเป็นมาตรฐานที่เรียกว่า 802.3u ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่า Fast Ethernet
Fast Ethernet อีเทอร์เน็ตรูปแบบหนึ่งที่มีความเร็วสูงถึง 100 Mbps รูปแบบของเฟรมข้อมูล
หรือการควบคุมการชนกันของข้อมูลไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอีเทอร์เน็ตปกติ
เพียงแต่ลดเวลาการส่งข้อมูลของแต่ละบิตจาก 100 นาโนวินาที เป็น 10 นาโนวินาที
จึงทำให้อัตราการส่งข้อมูลสูงขึ้น 10 เท่าจากเดิม
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
Fast Ethernet (IEEE 802.3u)
เป็น Ethernet ความเร็ว 100 Mbps
มีขนาดเฟรมน้อยที่สุด 72 Bytes
ใช้ Topology แบบ Star
มี 3 มาตรฐานย่อย คือ
100Base-TX ใช้สาย UTP แบบ CAT-5 หรือ STP จำนวน 2 คู่
100Base-FX ใช้สายใยแก้วนำแสง มีระยะทางไม่เกิน 2000 เมตร
100Base-T4 ใช้สาย UTP แบบ CAT-3 จำนวน 4 คู่
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
Gigabit Ethernet (IEEE 802.3g)
เป็น Ethernet ความเร็ว 1000 Mbps
ใช้ Topology แบบ Star
มี 4 มาตรฐานย่อย คือ
1000Base-T ใช้สาย UTP มีระยะสาย 25 เมตร
1000Base-CX ใช้สาย STP มีระยะสาย 25 เมตร
1000Base-SX สัญญาณแสงแบบ Short-wave Laser มีระยะสาย 550 เมตร ใช้สายใยแก้วนำแสงแบบ multimode
1000Base-LX สัญญาณแสงแบบ Long-wave Laser มีระยะสาย 550 เมตร สำหรับสายใยแก้วนำแสงแบบ multimode
และระยะสาย 5000 เมตร สำหรับสายใยแก้วนำแสงแบบ single mode
มาตรฐาน IEEE 802.3 ออกแบบมาสำหรับระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณแบบ CSMA/CD
ต้นกำเนิดของมาตรฐานนี้มาจากระบบอะโลฮ่า (Aloha) ซึ่งได้รับการเพิ่มขีดความสามารถโดยบริษัท Xerox เริ่มมาจากบริษัท Xerox ได้สร้างระบบเครือข่ายเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ 100 เครื่องในบริษัท
โดยมีความยาวของเครือข่ายได้ถึง 1 กิโลเมตร และมีอัตราในการส่งข้อมูลถึง 2.94 Mbps ระบบนี้เรียกว่า อีเทอร์เน็ต (Ethernet)
หลักการพื้นฐานและความเป็นมา
การนำระบบอีเธอร์เน็ตมาใช้งานนั้นประสบผลสำเร็จเป็นอย่างมาก
บริษัท Xerox , DEC (Digital Equipment Corporation, Ltd.) และ Intel Corp
ได้ร่วมกำหนดมาตรฐานอีเธอร์เน็ตที่ความเร็ว 10 Mbps ซึ่งเป็นพื้นฐานของ 802.3
ข้อแตกต่างที่สำคัญคือ มาตรฐาน IEEE 802.3 ได้กำหนดไว้ สำหรับการสื่อสารแบบ CSMA/CD บนสายสื่อสารชนิดต่างๆ เช่น กำหนดค่าตัวแปรไว้สำหรับสื่อสารที่ความเร็ว 10 Mbps บนสายโคแอกซ์ (Coaxial ) ขนาด 50 โอห์มเท่านั้น ค่าตัวแปรสำหรับตัวเลือกอื่นๆ ได้รับการกำหนดเพิ่มเติมในภายหลัง
IEEE 802.3 Ethernet
สำหรับมาตรฐาน 802.3 จะอธิบายถึง LAN ทั้งหมดที่ใช้หลักการของ
CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection)
ที่มีอัตราการส่งข้อมูลตั้งแต่ 1 Mbps ถึง 100 Mbps และใช้สายส่งชนิดต่างๆ
นอกจากนี้มาตรฐาน IEEE 802.3 และอีเทอร์เน็ตยังมีบางส่วนของส่วนหัวของข้อมูล (Header) แตกต่างกันบ้าง (ฟิลด์ความยาวของ IEEE 802.3 ถูกใช้บ่งบอกชนิดของ Packet ในมาตรฐานอีเทอร์เน็ต)
ดังนั้นจะเห็นได้ว่ามาตรฐาน IEEE 802.3 จะอธิบายถึง LAN ที่ใช้วิธีส่งข้อมูลแบบ CSMA/CD
ส่วนอีเทอร์เน็ตนั้นจะหมายถึงผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งของแลนแบบ IEEE 802.3
IEEE 802.3 Ethernet
LAN แบบนี้ส่งข้อมูลโดยใช้หลักการคล้ายๆ กับการสนทนาระหว่างบุคคลหลายคน
หากใครต้องการพูดก็สามารถพูดออกมาได้ในจังหวะที่ไม่มีคนอื่นพูด(เงียบ)
แต่ก็อาจเป็นไปได้ที่บุคคล 2 คนจะพูดออกมาพร้อมๆ กัน ทำให้เกิดการชนกันของเสียงพูด
เมื่อเป็นเช่นนั้นทั้งสองคนจะต้องหยุดพูดทันที แล้วรอจังหวะที่จะพูดใหม่อีกครั้ง
ซึ่งหากใครพูดก่อนก็จะสามารถพูดได้ และบุคคลอื่นๆ จะต้องฟังอย่างเดียว
IEEE 802.3 Ethernet
วิธีการรับส่งข้อมูลของแลน IEEE 802.3 ซึ่งเป็นแบบ CSMA/CD
ก็ทำงานในลักษณะเดียวกัน คือ โหนดใดที่ต้องการส่งข้อมูลลงในสื่อกลางการส่งข้อมูล
จะตรวจสอบดูสัญญาณในสื่อกลาง ถ้าหากสื่อกลางในการส่งข้อมูลว่างก็จะทำการส่งข้อมูลได้ทันที
แต่หากโหนดตั้งแต่ 2 โหนดขึ้นไป ส่งข้อมูลลงไปในสื่อกลางพร้อมๆ กัน
สัญญาณข้อมูลจะเกิดการชนกันขึ้น ทุกๆ สถานีจะต้องหยุดการส่งข้อมูลแล้วรอเวลา
ซึ่งช่วงเวลาของการรอแต่ละครั้งจะทำการสุ่มขึ้นมา (Random Time)
หลังจากหมดเวลารอแล้วก็จะทำการตรวจสอบสัญญาณในสื่อกลางเพื่อส่งข้อมูลลงไปใหม่อีก
IEEE 802.3 Ethernet
เมื่อเกิดการชนกันของสัญญาณข้อมูลแล้ว เวลาจะถูกแบ่งออกเป็นช่องๆ (slots) แต่ละช่องมีช่วงเวลา 51.2 ไมโครวินาที
(นั่นคือเวลาสถานีที่ส่งข้อมูลรู้ว่าเกิดการชนกันของข้อมูลหรือไม่ สำหรับความยาวของแลน 2,500 เมตร อัตราการส่งข้อมูล 10 Mbps)
หลังจากการชนกันครั้งแรก แต่ละสถานีจะสร้างตัวเลขสุ่ม (Random) ที่มีค่า 0 หรือ 1 (เลขสุ่ม 2^1 ค่า)
สถานีที่ได้ค่า 0 จะส่งข้อมูลออกไปในช่องเวลา 0 และสถานีที่ได้ค่า 1 จะส่งข้อมูลในช่องเวลาที่ 1
หากสองสถานีได้ค่าเลขสุ่มเดียวกันและส่งข้อมูลภายในช่องเวลาเดียวกัน จะเกิดการชนกันอีกครั้ง
IEEE 802.3 Ethernet
หลังจากการชนกันครั้งที่ 2 แต่ละสถานีจะสร้างตัวเลขสุ่มที่มีค่า 0,1,2, หรือ 3
(นั่นคือเลขสุ่ม 2^2 ค่า) แล้วส่งข้อมูลภายในช่องเวลาของตนเอง หากชนกันอีกก็จะสร้างเลขสุ่มจำนวน 2^3 ค่า กล่าวคือหลังจากการชนกัน i ครั้ง แต่ละสถานีก็จะมีการสร้างเลขสุ่มตั้งแต่ค่า 0 ถึง 2^i-1 ค่า
และสถานีก็จะส่งข้อมูลภายในช่องเวลาของตนเอง กระบวนการในการแก้ไขการชนกันของข้อมูลแบบนี้เรียกว่า Binary Exponential Back off ซึ่งจะเห็นได้ว่ากระบวนการนี้ทำให้โอกาสในการที่จะเกิดการชนกันของข้อมูลมีน้อยลง เมื่อจำนวนครั้งของการชนกันของข้อมูลมากขึ้น
หลักการพื้นฐานและความเป็นมา
IEEE แบ่ง IEEE 802.3 เป็น 2 กลุ่มคือ baseband และ broadband
พิจารณาจากลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่ส่งลงไปในสาย
Baseband ใช้สัญญาณแบบ digital สำหรับสื่อสารในสาย มี 5 มาตรฐานคือ
10Base5, 10Base2, 10Base-T, 1Base5 และ 100Base-T
Broadband ใช้สัญญาณแบบ analog สำหรับสื่อสารในสาย มีมาตรฐานเดียวคือ 10Broad36
IEEE 802.3 Ethernet
การทำงานและหน้าที่ของ MAC
ส่วนประกอบของเฟรมข้อมูลของ Ethernet
Preamble มีความยาว 7 ไบต์ แต่ละไบต์จะมีข้อมูลเหมือนกันหมดคือ “10101010”
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับได้มีโอกาสรู้และเทียบสัญญาณนาฬิกาของตนเองกับผู้ส่งให้ตรงกัน
Start of frame มีความยาว 1 ไบต์ (10101011) สำหรับบอกเครื่องรับ ระบุจุดเริ่มต้นของเฟรม
โดยไบต์ถัดจากนี้เป็นต้นไป คือ ข้อมูล
การทำงานและหน้าที่ของ MAC
Source address and Destination address คือ ที่อยู่ของผู้ส่งและที่อยู่ของผู้รับ มีขนาดอย่างละ 6 ไบต์ IEEE มีหน้าที่ในการกำหนดที่อยู่สากล (global address) ซึ่งมีขอบเขตการใช้งานได้ทั่วโลก
Length มีความยาว 2 ไบต์ ใช้บอกความยาวของข้อมูลมูลจริงที่ถูกใส่มาในเฟรมนั้น มีค่าต่ำสุด เป็น 0 ไบต์ และสูงสุดไม่เกิน 1,500 ไบต์ มาตรฐาน 802.3 กำหนดให้ทุกเฟรมจะต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า 64 ไบต์ หากข้อมูลจริงมีความยาวไม่ถึง 64 ไบต์ จะใช้ส่วน pad เพิ่มเติม
Pad มีไว้สำหรับเติมข้อมูลหลอก (dummy) เพื่อให้มีขนาดของเฟรมไม่น้อยกว่า 64 ไบต์
Checksum มีขนาด 4 ไบต์ มีไว้สำหรับการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่รับได้
ถ้าเกิดการผิดพลาดขึ้นในระหว่างการนำส่งข้อมูลในส่วนนี้จะช่วยให้ตรวจพบความผิดพลาดนี้ได้ เช่น CRC (Cyclic redundancy)
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
คำว่า “Ethernet” นั้นอันที่จริงมีความหมายเกี่ยวข้องโดยตรงกับสายสื่อสาร
จากรูป แสดงคุณสมบัติของสายสื่อสาร 4 ชนิด ที่นิยมใช้กันทั่วไป ประเภทของสายสื่อสารที่ใช้กันทั่วไปสำหรับมาตรฐาน 802.3
การแบ่งเซกเมนต์ของ Ethernet
ระยะต่างๆ ของการติดตั้งเครือข่าย Ethernet จะขึ้นอยู่กับมาตรฐาน โดยประกอบด้วย
ระยะห่างระหว่างเครื่อง
ความยาวเซกเมนต์
ความยาวสูงสุด
จำนวนเครื่องสูงสุด
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base5: Thick Ethernet
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base5: Thick Ethernet
แต่ละเซกเมนต์ยาวไม่เกิน 500 เมตร
ความยาวรวมทุกเซกเมนต์ไม่เกิน 2500 เมตร
มีจำนวนเครื่องสูงสด 200 เครื่องในแต่ละเซกเมนต์ และทั้งหมดไม่เกิน 1000 เครื่อง
ใช้สาย RG-8 เป็นสายหลักของเซกเมนต์
การต่อไปยังเครื่องใช้ Transceiver ต่อออกจากสายหลัก หรือเรียกอุปกรณ์เหล่านี้ว่า Medium Attachment Unit (MAU)
ใช้สาย AUI ต่อจาก MAU ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base2: Thin Ethernet
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base2: Thin Ethernet
แต่ละเซกเมนต์ยาวไม่เกิน 185 เมตร
ใช้สาย RG-58 เป็นสายหลักของเซกเมนต์
การต่อไปยังเครื่องใช้ BNC-T connector และต่อตรงเข้ากับแผ่นวงจรเครือข่ายของเครื่องคอมพิวเตอร์
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base-T: Twisted-Pair Ethernet
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
10Base-T: Twisted-Pair Ethernet
สายแต่ละเส้นที่ต่อออกจากอุปกรณ์กระจายสัญญาณยาวไม่เกิน 100 เมตร
ใช้สาย UTP เป็นสายหลักของเซกเมนต์
เข้าหัวสายด้วยหัวต่อ RJ-45
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
1Base5: StarLAN
เป็นผลิตภัณฑ์ของ AT&T
มีความเร็ว 1 Mbps
เพิ่มขนาดของเครือข่ายแบบ Daisy chain
ใช้สาย UTP
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
Fast Ethernet (IEEE 802.3u)
เนื่องจากในปัจจุบันมัลติมีเดียได้มีการใช้งานกันมาก
จึงมีความต้องการเครือข่ายความเร็วสูงในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน
กลุ่มคณะทำงานของ IEEE จึงตัดสินใจที่จะปรับปรุงมาตรฐาน 802.3
ให้สามารถ รับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงขึ้น ซึ่งกลายเป็นมาตรฐานที่เรียกว่า 802.3u ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่า Fast Ethernet
Fast Ethernet อีเทอร์เน็ตรูปแบบหนึ่งที่มีความเร็วสูงถึง 100 Mbps รูปแบบของเฟรมข้อมูล
หรือการควบคุมการชนกันของข้อมูลไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอีเทอร์เน็ตปกติ
เพียงแต่ลดเวลาการส่งข้อมูลของแต่ละบิตจาก 100 นาโนวินาที เป็น 10 นาโนวินาที
จึงทำให้อัตราการส่งข้อมูลสูงขึ้น 10 เท่าจากเดิม
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
Fast Ethernet (IEEE 802.3u)
เป็น Ethernet ความเร็ว 100 Mbps
มีขนาดเฟรมน้อยที่สุด 72 Bytes
ใช้ Topology แบบ Star
มี 3 มาตรฐานย่อย คือ
100Base-TX ใช้สาย UTP แบบ CAT-5 หรือ STP จำนวน 2 คู่
100Base-FX ใช้สายใยแก้วนำแสง มีระยะทางไม่เกิน 2000 เมตร
100Base-T4 ใช้สาย UTP แบบ CAT-3 จำนวน 4 คู่
การเชื่อมต่อและชนิดของเครือข่าย Ethernet
Gigabit Ethernet (IEEE 802.3g)
เป็น Ethernet ความเร็ว 1000 Mbps
ใช้ Topology แบบ Star
มี 4 มาตรฐานย่อย คือ
1000Base-T ใช้สาย UTP มีระยะสาย 25 เมตร
1000Base-CX ใช้สาย STP มีระยะสาย 25 เมตร
1000Base-SX สัญญาณแสงแบบ Short-wave Laser มีระยะสาย 550 เมตร ใช้สายใยแก้วนำแสงแบบ multimode
1000Base-LX สัญญาณแสงแบบ Long-wave Laser มีระยะสาย 550 เมตร สำหรับสายใยแก้วนำแสงแบบ multimode
และระยะสาย 5000 เมตร สำหรับสายใยแก้วนำแสงแบบ single mode
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)